เมนู

8. อุปนิสสยปัจจัย


[368] 1. นเหตุธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
นเหตุธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 3 วาระ (วาระที่ 1-3)
4. นเหตุธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
นเหตุธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 5 วาระ (วาระที่ 4-8)
9. นเหตุธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่
นเหตุธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี 5 วาระ (วาระที่ 9-13)
14. นเหตุธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และนเหตุ
ธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ.
17. นเหตุธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และนเหตุ-
ธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นมัคค-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[369] ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ ในอธิปติปัจจัย มี 21 วาระ
ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี 17 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 17 วาระ ในนิสสยปัจจัย มี 17 วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี 21 วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี 17 วาระ.

ปัจจนียนัย


[370] ในนเหตุปัจจัย มี 21 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 19
วาระ ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย


[371] เพราะอารัมมณปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี 9 วาระ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย


[372] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ... ฯลฯ
แม้ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.
มัคคารัมมณติกเหตุทุกะ จบ